Page 84 - แนวทางการจัดทำแผนที่แสดงความลาดชันของพื้นที่จากข้อมูลแบบจำลองระดับสูงเชิงเลขด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
P. 84

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                          ๗๖


                             1.8.2 น าเข้าข้อมูลและจัดการข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ที่น ามาใช้ในการวิเคราะห์ จ าแนก
                  ความลาดชันและจัดท าแผนที่แสดงความลาดชันของพื้นที่จังหวัด............

                                    1)  ตรวจสอบและแก้ไขข้อมูลแบบจ าลองระดับสูงเชิงเลข ให้ถูกต้อง สมบูรณ์

                  ครบถ้วนด้วยโปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
                                    2)  เชื่อมต่อ (Mosaic) ข้อมูลแบบจ าลองระดับสูงเชิงเลข ให้เป็นข้อมูลที่ต่อเนื่องกัน

                  ด้วยโปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์

                                       ข้อมูลแบบจ าลองระดับสูงเชิงเลข เป็นข้อมูลโครงสร้างแบบแรสเตอร์ (Raster) จัดเก็บใน
                  รูปของไฟล์ภาพเชิงเลข ขนาดระวางมาตราส่วน 1: 4,000 ครอบคลุมพื้นที่ 2x2 ตารางกิโลเมตร ต่อ 1 ระวาง

                  จ านวนทั้งสิ้น 3,300 ระวาง
                             1.8.3 วิเคราะห์และจ าแนกความลาดชันของพื้นที่จังหวัด............ด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์

                                   โดยการจัดกลุ่มข้อมูลใหม่ (Reclassify)  ตามเงื่อนไข ที่ก าหนด เป็นการประมวลผลและ
                  วิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Analysis) และข้อมูลพื้นผิวภูมิประเทศ (Surface Analysis) เพื่อจ าแนก

                  พื้นผิวภูมิประเทศตามระดับความสูง-ต่ า และความลาดเอียงของพื้นที่ตามมาตรฐานที่ก าหนด โดยอาศัย

                  หลักการทางคณิตศาสตร์และสถิติในการค านวณความลาดชัน (Slope) ทิศลาดเอียง (Aspect) และรูปหน้า
                  ตัดด้านข้างของความลาดเท (Profile) ซึ่งจะได้ข้อมูลความลาดชันของพื้นที่ โครงสร้างแบบแรสเตอร์ (Raster)

                  รูปแบบไฟล์ประเภท IMG

                             1.8.4 จัดท าชั้นข้อมูลความลาดชันของพื้นที่ให้อยู่ในรูปแบบข้อมูลเชิงเส้น (Vector) ประเภทรูปปิด
                  หรือโพลีกอน (Polygon)

                             1.8.5 วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงสภาพการใช้ที่ดินและลักษณะทางกายภาพที่อาจมีผลกระทบต่อ
                  ความลาดชันของพื้นที่จังหวัด............

                                   โดยวิธีการซ้อนทับข้อมูลเชิงพื้นที่ ได้แก่ ข้อมูลแผนที่ภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลข ข้อมูลแผนที่
                  ภูมิประเทศ ข้อมูลแผนที่สภาพการใช้ที่ดิน ข้อมูลแผนที่ขอบเขตการปกครอง และข้อมูลความลาดชันของพื้นที่

                             1.8.6 ส ารวจ เก็บรวบรวมข้อมูลพื้นที่ที่มีการเปลี่ยนแปลงความลาดชันของพื้นที่ไปจากเดิม

                             1.8.7 จัดท าและปรับปรุงข้อมูลความลาดชันของพื้นที่ให้สอดคล้องกับสภาพพื้นที่ในปัจจุบัน
                             1.8.8 จัดท าแผนที่แสดงความลาดชันของพื้นที่จังหวัด.................................. พร้อมจัดท ารายงาน

                  โครงการจัดท าแผนที่แสดงความลาดชันของพื้นที่เพื่อการพัฒนาที่ดินจังหวัด............


                  1.9 คณะผู้จัดท า
                             1) ที่ปรึกษาโครงการ

                               ชื่อ ……………………………………            ต าแหน่ง ………………………………………..
                             2) ผู้ควบคุมโครงการ
                               ชื่อ ……………………………………            ต าแหน่ง ………………………………………..

                             3) ผู้ด าเนินงานโครงการ
                                3.1) ชื่อ …………………………………… ต าแหน่ง ………………………………………..
                                3.2) ชื่อ …………………………………… ต าแหน่ง ………………………………………..
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88