Page 77 - การจัดทำแผนที่แสดงความลาดชันของพื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 77

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                                                                          66


                             ผลการส ารวจข้อมูลภาคสนามระหว่างเดือนธันวาคม 2559 ถึงเดือนมกราคม 2560 ร่วมกับ
                     ข้อมูลจากการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงประเภทการใช้ที่ดินปี พ.ศ. 2546 กับการใช้ที่ดินปี พ.ศ. 2559

                     ที่อาจมีผลกระทบกับความลาดชันของพื้นที่ พบว่าพื้นที่ที่มีการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพของพื้นที่
                     ที่มีผลกระทบต่อความลาดชันของพื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ์ ได้แก่ พื้นที่เกษตรกรรมปี พ.ศ. 2546 เปลี่ยนแปลง

                     เป็นพื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง 5,285 ไร่ พื้นที่เบ็ดเตล็ด 2,638 ไร่ และพื้นที่แหล่งน้ า 7,379 ไร่ พื้นที่

                     เบ็ดเตล็ดปี พ.ศ. 2546 เปลี่ยนแปลงเป็นพื้นที่แหล่งน้ า 201 ไร่ และพื้นที่ป่าไม้ ปีพ.ศ.2546 เปลี่ยนแปลง
                     เป็นพื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง 4 ไร่ พื้นที่เบ็ดเตล็ด 225 ไร่ รวมพื้นที่ที่มีการเปลี่ยนแปลงประเภทการใช้

                     ที่ดินที่อาจส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงความลาดชันของพื้นจังหวัดเพชรบูรณ์ จ านวน 15,732 ไร่

                     โดยข้อมูลพื้นที่เป้าหมายที่มีการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพจนท าให้ความลาดชันของพื้นที่เปลี่ยนแปลง
                     ไปจากเดิม จะใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุงและจัดแผนที่แสดงความลาดชันให้ถูกต้องมีความสอดคล้องกับ

                     สภาพพื้นที่ในปัจจุบัน (พ.ศ.2559) ดังตารางที่ 4-10


                     ตารางที่ 4-10  ผลการส ารวจพื้นที่ที่มีการเปลี่ยนแปลงความลาดชันของพื้นที่ไปจากเดิม



                                                           ผลการส ารวจข้อมูลในภูมิประเทศ       จ านวนเนื้อที่
                     ล าดับ    การใช้ที่ดิน พ.ศ.2546
                                                                 (ธ.ค.59 – ม.ค.60)                 (ไร่)

                                                       -พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง                 5,285

                       1    พื้นที่เกษตรกรรม           -พื้นที่เบ็ดเตล็ด                             2,638
                                                       -พื้นที่แหล่งน้ า                             7,379


                       2    พื้นที่เบ็ดเตล็ด           -พื้นที่แหล่งน้ า                               201

                                                       -พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง                      4
                       3    พื้นที่ป่าไม้
                                                       -พื้นที่เบ็ดเตล็ด (เหมืองแร่)                   225

                                                          รวม                                       15,732


                                   1) พื้นที่ที่มีการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพที่มีผลกระทบต่อความลาดชันของพื้นที่

                     จังหวัดเพชรบูรณ์ที่เกิดจากการกระท าของมนุษย์ ได้แก่

                                      1.1) การท าเหมืองแร่ทองค า ต าบลท้ายดง อ าเภอวังโป่ง จังหวัดเพชรบูรณ์ ซึ่งเป็น
                     การท าแบบเหมืองเปิด โดยมีการขุด-เจาะหน้าดินและระเบิดหินบริเวณพื้นที่ภูเขาหรือพื้นราบเพื่อเปิดหน้าดิน

                     ลงไปจนถึงแหล่งแร่ทองค า ซึ่งการท าเหมืองแร่แบบนี้ ต้องใช้เครื่องมือหนัก เช่น เครื่องเจาะ รถขุด รถตัก
                     และรถขนแร่ขนาดใหญ่ ตลอดจนต้องมีการระเบิดบริเวณหน้าเหมืองเพื่อตัดเส้นทาง ส าหรับ ขนเครื่องจักร

                     อุปกรณ์การท าเหมืองเพื่อปรับสภาพของพื้นที่เหมืองและพัฒนาให้เป็นหน้าเหมืองที่พร้อมเพื่อการผลิตแร่ เช่นการ
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82