Page 169 - การจัดทำแผนที่แสดงความลาดชันของพื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 169

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                          ๖๔


                  ชุดดินที่ส าคัญของจังหวัดเพชรบูรณ์
                             ชุดดินเฉลียงลับ (Cl)

                             เกิดจำกตะกอนน้ ำพำ พบบริเวณพื้นที่รำบระหว่ำงหุบเขำและตะพักล ำน้ ำระดับต่ ำ สภำพพื้นที่

                  รำบเรียบถึงค่อนข้ำงรำบเรียบ ควำมลำดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์
                             ชุดดินแก่งคอย (Kak)

                             เกิดจำกกำรผุพังสลำยตัวของหินอัคนีพวกแอนดีไซท์และหินอัคนีในกลุ่มเดียวกัน และรวมถึงที่เกิด

                  จำกวัสดุดินหรือหินที่เคลื่อนย้ำยมำเป็นระยะทำงใกล้ ๆ โดยแรงโน้มถ่วงของโลก สภำพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลำด
                  เล็กน้อยถึงเป็นลูกคลื่นลอนชัน ควำมลำดชัน 2-20 เปอร์เซ็นต์ พบบริเวณเนินเขำ เชิงเขำ และไหล่เขำ

                             ชุดดินชัยบาดาล (Cd)
                             เกิดจำกกำรผุพังสลำยตัวของหินบะซอลท์ หินแอนดีไซท์ บริเวณพื้นที่ภูเขำ รวมถึงที่เกิดจำกวัสดุดิน

                  หรือหินที่เคลื่อนย้ำยมำเป็นระยะทำงใกล้ ๆ โดยแรงโน้มถ่วงบริเวณเชิงเขำ หรือเกิดจำกตะกอนน้ ำพำบริเวณ
                  เนินตะกอนรูปพัด สภำพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลำดเล็กน้อยถึงลูกคลื่นลอนชัน ควำมลำดชัน 3-16 เปอร์เซ็นต์

                             ชุดดินเพชรบูรณ์ (Pe)

                             เกิดจำกตะกอนน้ ำพำทับถมบนหินตะกอนพวกหินทรำย หินดินดำน หรือหินทรำยแป้ง พบ
                  บริเวณเนินตะกอนรูปพัด สภำพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลำดเล็กน้อยถึงเป็นลูกคลื่นลอนลำด ควำมลำดชัน 2-12

                  เปอร์เซ็นต์

                             ชุดดินล านารายณ์ (Ln)
                             เกิดจำกกำรผุพังสลำยตัวของหินบะซอลท์ หินแอนดีไซท์ และหินปูน รวมถึงที่เกิดจำกวัสดุดิน

                  หรือหินที่เคลื่อนย้ำยมำเป็นระยะทำงใกล้ ๆ โดยแรงโน้มถ่วงของโลก พบบริเวณที่ลำดเชิงเขำ สภำพพื้นที่เป็น
                  ลูกคลื่นลอนลำดเล็กน้อย ควำมลำดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์

                             ชุดดินบ้านโภชน์ (Bpo)
                             เกิดจำกตะกอนน้ ำพำบริเวณที่รำบน้ ำท่วม สภำพพื้นที่รำบเรียบถึงค่อนข้ำงรำบเรียบ ควำมลำดชัน

                  0-1 เปอร์เซ็นต์ พบมำกบริเวณที่สูงตอนกลำงของประเทศ

                             ที่ลาดชันเชิงซ้อน (SC)
                             ลักษณะมีควำมลำดชันสูงมำก มำกกว่ำ 35 เปอร์เซ็นต์ พื้นที่บริเวณนี้ยังไม่มีกำรศึกษำส ำรวจ

                  และจ ำแนกดิน เนื่องจำกสภำพพื้นที่มีควำมลำดชันสูง ควรปล่อยไว้ให้เป็นป่ำตำมธรรมชำติเป็นที่อยู่อำศัยของ

                  สัตว์ป่ำ แหล่งต้นน้ ำล ำธำร ในกรณีที่จ ำเป็นต้องน ำมำใช้ประโยชน์ทำงกำรเกษตร จ ำเป็นต้องมีกำรศึกษำดินก่อน
                  เพื่อให้ทรำบถึงควำมเหมำะสมของดินส ำหรับกำรปลูกพืช โดยมีกำรใช้ประโยชน์ที่ดินในเชิงอนุรักษ์หรือวนเกษตร

                  ในบริเวณพื้นที่ที่เป็นดินลึกและสำมำรถพัฒนำแหล่งน้ ำได้ มีระบบอนุรักษ์ดินและน้ ำ เช่น ปลูกพืชคลุมดิน
                  ท ำแนวรั้วหญ้ำแฝก และขุดหลุมปลูกเฉพำะต้น โดยไม่มีกำรท ำลำยไม้พื้นล่ำง ส ำหรับในพื้นที่ที่ไม่มีศักยภำพ

                  ทำงกำรเกษตรควรรักษำไว้ให้เป็นสวนป่ำ สร้ำงสวนป่ำ หรือใช้ปลูกไม้ใช้สอยโตเร็ว
   164   165   166   167   168   169   170   171   172   173   174