Page 37 - การจัดการระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยโป่ง ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำปิงตอนบน ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำปิง บ้านทุ่งดินดำ หมู 6 ตำบลเมืองนะ อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่
P. 37

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       26







                       2.9 สภาวะเศรษฐกิจและสังคม
                              จากการส ารวจข๎อมูลภาวะเศรษฐกิจของเกษตรกรในพื้นที่โครงการ ในด๎าน ลักษณะทั่วไป
                       ของครัวเรือน การถือครองที่ดินการใช๎ประโยชน์ที่ดินของครัวเรือน ภาวการณ์ผลิตพืชของเกษตรกร
                       ภาวการณ์ผลิตสัตว์ของเกษตรกร ภาวะหนี้สินและการกู๎ยืมเงินของเกษตรกร รายได๎นอกฟาร์มของ

                       ครัวเรือน และปัญหาความต๎องการความชํวยเหลือจากรัฐและทัศนคติของเกษตรกร (กลุํมวาง
                       แผนการใช๎ที่ดิน, 2559) ซึ่งมีรายละเอียดดังตํอไปนี้
                              2.9.1 ลักษณะทั่วไปของครัวเรือน
                              จากผลการศึกษาพบวํา เกษตรกรที่ให๎สัมภาษณ์สํวนใหญํเป็นเพศชาย ร๎อยละ 82.36 มีอายุ

                       เฉลี่ย 50.52 ปี โดยทั้งหมดจบการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษา และประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็น
                       อาชีพหลัก  มีจ านวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 6.27 คน มีจ านวนแรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 3.73 คน
                       โดยทั้งหมดเป็นแรงงานภาคเกษตร ดังตารางภาคผนวกที่ 1
                              2.9.2 การถือครองที่ดินการใช๎ประโยชน์ที่ดินของครัวเรือน

                                 เกษตรกรมีที่ดินถือครองเฉลี่ยครัวเรือนละ  21.03  ไรํ  ในจ านวนนี้เป็นที่ดินเพื่อ
                       การเกษตรเฉลี่ยครัวเรือนละ  20.92  ไรํ  ซึ่งสูงกวําขนาดการถือครองของเกษตรกรทั่วไปของจังหวัด
                       เชียงใหมํซึ่งมีที่ดินถือครองเพื่อการเกษตรเฉลี่ยครัวเรือนละ  20.62  ไรํ  (ส านักงานเศรษฐกิจ

                       การเกษตร, 2557)  ในจ านวนที่ดินถือครองนี้แยกเป็นที่นาที่ไรํ  ที่สวนและที่อยูํอาศัยเฉลี่ยครัวเรือน
                       ละ  15.00  2.84  3.08  และ  0.11  ไรํ  ตามล าดับ  ด๎านหนังสือส าคัญในที่ดินที่ถือครองนี้พบวํา
                       ทั้งหมดยังไมํมีเอกสารสิทธิ์เป็นของตัวเองซึ่งการมีหนังสือส าคัญในที่ดินนั้นจะเป็นปัจจัยหนึ่งที่บํงชี้ถึง
                       แรงจูงใจและสร๎างความมั่นใจในการที่จะลงทุนปรับปรุงพื้นที่เพื่อให๎เกิดประโยชน์เพิ่มตํอไป  ดังตาราง
                       ภาคผนวกที่ 2

                              2.9.3 ภาวะการผลิตพืชของเกษตรกร
                                  การผลิตพืช เกษตรกรใช๎พื้นที่นาในการปลูกข๎าวไรํ พันธุ์พื้นเมือง  โดยปลูกเฉลี่ย
                       ครัวเรือนละ 15.00 ไรํ ได๎ผลผลิตเฉลี่ยไรํละ 237.61 กิโลกรัม มีมูลคําผลผลิตเฉลี่ยไรํละ 4,921.34

                       บาท คิดเป็นมูลคําผลผลิตเหนือต๎นทุนที่เป็นเงินสดเฉลี่ยไรํละ 7,073.28 หรือครัวเรือนละ 18,227.31
                       บาท  ดังตารางภาคผนวกที่ 3
                                  ที่นาครั้งที่ 2 คือ ข๎าวโพดเลี้ยงสัตว์ พันธุ์ 888  เฉลี่ยครัวเรือนละ 14.75 ไรํ ได๎ผลผลิต
                       เฉลี่ยไรํละ 719.03 กิโลกรัม มีมูลคําผลผลิตเฉลี่ยไรํละ 3,875.90  บาท คิดเป็นมูลคําผลผลิตเหนือ

                       ต๎นทุนที่เป็นเงินสดเฉลี่ยไรํละ 2,782.92 หรือครัวเรือนละ 45,412.11 บาท ดังตารางผนวกที่ 4
                                  ในสํวนของที่ไรํ เกษตรกรปลูกถั่วแดง  พันธุ์นิ้วนางแดง  เฉลี่ยครัวเรือนละ 2.48 ไรํ ได๎
                       ผลผลิตเฉลี่ยไรํละ 126.29 กิโลกรัม คิดเป็นมูลคําผลผลิตเฉลี่ยไรํละ 3,477.04 บาท คิดเป็นมูลคํา
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42