Page 10 - การพัฒนาและป้องกันการแพร่กระจายพื้นที่ดินเค็มในเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำลำเสียวน้อยตอนบน - ห้วยกุดแดง อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด
P. 10

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         1







                                                             บทที่ 1

                                                             บทน า


                       1.1 หลักการและเหตุผล


                              เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้้าล้าเสียวน้อยตอนบน – ห้วยกุดแดง ลุ่มน้้าย่อยล้าเสียวน้อย ลุ่มน้้า

                       หลักแม่น้้ามูล เนื้อที่ประมาณ 150,598 ไร่ มีพื้นที่ดินปัญหาที่รุนแรง และต้องมีการแก้ไขเร่งด่วน
                       คือ พื้นที่ดินเค็ม พบมีการแพร่กระจายอยู่ในเขตต้าบลหัวช้าง ต้าบลดงกลาง และต้าบลศรีโคตร

                       อ้าเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 42,097 ไร่ แบ่งระดับความ
                       รุนแรงของความเค็มในพื้นที่ได้เป็น 3 ระดับ คือ เค็มมาก เค็มปานกลาง และเค็มน้อย ในแต่ละ

                       ระดับมีแนวทางการจัดการ เพื่อปูองกันการแพร่กระจายพื้นที่ดินเค็มและเพิ่มคุณภาพการผลิตพืชใน

                       พื้นที่ที่แตกต่างกัน ซึ่งการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้้าทั้งวิธีกลและวิธีพืชเป็นวิธีการหนึ่งที่ใช้ในการ
                       แก้ไขปัญหาการแพร่กระจายพื้นที่ดินเค็ม อีกทั้งยังเป็นมาตรการลดปริมาณการใช้สารเคมี และ

                       ส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม โดยใช้วิธีกลในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของพื้นที่ให้มีความเหมาะสม
                       มีเสถียรภาพ และมีประสิทธิภาพต่อการใช้ประโยชน์ที่ดิน เช่น การปรับรูปแปลงนาลักษณะที่ 1

                       การสร้างทางล้าเลียงในไร่นา ก่อสร้างพื้นที่กักเก็บน้้าของเกษตรกร เป็นต้น ส่วนวิธีพืชเป็นการใช้พืชที่

                       ปลูกในพื้นที่หรือพืชอื่นมาปลูก เพื่อยึดน้้าฝนบางส่วนไว้ และลดความเร็วของน้้าไหลบ่าช่วยสกัดกั้น
                       การไหลบ่าหน้าดินให้น้อยลง เพิ่มปริมาณน้้าไหลซึมลงสู่ดินให้มากขึ้น เช่น การปลูกไม้ผลทนเค็ม

                       การปลูกกระถินออสเตรเลีย (Acacia) การปลูกไม้เศรษฐกิจบนคันนา การปลูกหญ้าแฝก และการปลูก

                       พืชปุ๋ยสดปรับปรุงบ้ารุงดิน เป็นต้น
                              สถานีพัฒนาที่ดินร้อยเอ็ด ส้านักงานพัฒนาที่ดินเขต 4 ได้คัดเลือกพื้นที่ บ้านหนองตอ

                       บ้านโต้น ต้าบลหัวช้าง บ้านดงยาง ต้าบลดงกลาง และบ้านค้อน้อย ต้าบลศรีโคตร อ้าเภอ

                       จตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด เนื้อที่ประมาณ 4,000 ไร่ เป็นพื้นที่ด้าเนินการพัฒนาและปูองกัน
                       การแพร่กระจายพื้นที่ดินเค็มในเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้้าล้าเสียวน้อยตอนบน – ห้วยกุดแดง ในปี

                       2559 และ 2560 ปัญหาที่ส้าคัญของพื้นที่ คือ ดินเค็ม มีความอุดมสมบูรณ์ต่้า และขาดแคลนน้้า
                       ท้าการเกษตร เกษตรกรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพท้านาอาศัยน้้าฝนเป็นหลัก แต่พื้นที่มีการ

                       แพร่กระจายดินเค็มมากท้าให้ไม่ได้ผลผลิตข้าว บางแห่งถูกปล่อยทิ้งร้าง มีการขูดคราบเกลือบริเวณ

                       ผิวหน้าดินไปต้มเกลือสินเธาว์ อีกทั้งเกษตรกรในพื้นที่ยังขาดความรู้ความเข้าใจในการปูองกันและ
                       แก้ไขปัญหาพื้นที่ดินเค็มที่ถูกต้อง สถานีพัฒนาที่ดินร้อยเอ็ดจึงได้น้ามาตรการอนุรักษ์ดินและน้้าทั้งวิธี

                       กลและวิธีพืชมาใช้ในการแก้ไขปัญหาพื้นที่ดินเค็ม เพิ่มสิ่งปกคลุมผิวดิน รักษาความชื้นในดิน ปรับปรุง
                       โครงสร้างของดิน เพิ่มอินทรียวัตถุในดิน เพิ่มความอุดมสมบูรณ์ให้แก่ดิน ตลอดจนถ่ายทอดความรู้

                       การใช้เทคโนโลยีชีวภาพของกรมพัฒนาที่ดิน และให้ค้าแนะน้าการจัดการและการแก้ไขปัญหาดินเค็ม
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15