Page 91 - การประเมินความเหมาะสมของที่ดินสำหรับพืชเศรษฐกิจเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในการฟื้นฟูพื้นที่ลุ่มน้ำวิกฤต ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์
P. 91

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        78







                              4.1.4  ความสมดุลของน้ําประจําปี

                                  ความสมดุลของน้ํามีผลตํอการเจริญเติบโตของพืช โดยจะเป็นประโยชน์ตํอการ
                       เจริญเติบโตของพืชถ๎าปริมาณของน้ําฝนมากกวําหรือเทํากับการคายระเหยน้ํา เมื่อเปรียบเทียบปริมาณ
                       น้ําฝนเฉลี่ยรายเดือนกับความต๎องการน้ําอ๎างอิง (ETo) ตลอดระยะเวลา 30 ปี โดยแบํงเป็น 3 ชํวงเวลา

                       ระหวํางปี 2530-2559 โดยใช๎ข๎อมูลสถิติภูมิอากาศจากสถานีตรวจอากาศของกรมอุตุนิยมวิทยาที่
                       ใกล๎เคียงลุํมน้ําสาขาแมํน้ําประแสร์ ได๎แกํ สถานีตรวจอากาศ จังหวัดระยองโดยวิเคราะห์ลักษณะ
                       ภูมิอากาศของสถานีตรวจอากาศ ชํวงที่ 1 ปี 2530-2539 (ชํวง 10 ปีแรก) ชํวงที่ 2 ปี 2540-2549
                       (ชํวง 10 ปีกลาง) และชํวงที่ 3 ปี 2550-2559 (ชํวง 10 ปีลําสุด) พบวํา ในพื้นที่ลุํมน้ําสาขาแมํน้ําประ

                       แสร์(ภาพที่ 14) ชํวงที่มีคําเป็นบวกหมายถึงปริมาณน้ําฝนเพียงพอตํอการเพาะปลูกพืช คือชํวงที่มีน้ํา
                       มากเกินเมื่อเปรียบเทียบปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยรายเดือนกับครึ่งหนึ่งของความต๎องการน้ําของพืชอ๎างอิง
                       (0.5 ETo) ชํวงที่มีคําเป็นบวกหมายถึงชํวงที่เหมาะตํอการเพาะปลูกพืช เป็นชํวงฤดูฝนปกติ คือ มีความ

                       เหมาะสม ของน้ําตํอความต๎องการของพืชแตํอาจจะลดลงได๎หากไมํมีการชลประทาน
                                  นอกจากนี้แล๎ว เมื่อวิเคราะห์ความแตกตํางของปริมาณน้ําฝนและหนึ่งในสี่ของความ
                       ต๎องการน้ําของพืชอ๎างอิง (0.25 ETo) ชํวงที่มีคําเป็นบวกเหมาะสมสําหรับปลูกพืช เป็นสถานการณ์ความ
                       สมดุลของน้ําที่จําเป็นต๎องมีการชลประทานเสริมหรือมีน้ําจากแหลํงน้ําอื่นด๎วย จึงจะเพียงพอสําหรับการ
                       เพาะปลูก     ซึ่งจะสํงผลให๎เกษตรกรสามารถขยายชํวงเวลาเพาะปลูกพืชออกไปได๎อีกเล็กน๎อยหากมีน้ํา

                       จากแหลํงน้ําอื่นมาทดแทน โดยชํวงที่ 1 อยูํระหวํางปลายเดือนมกราคมถึงกลางเดือนพฤศจิกายน ชํวงที่
                       2 อยูํระหวํางต๎นเดือนกุมภาพันธ์ถึงกลางเดือนพฤศจิกายน และชํวงที่ 3 อยูํระหวํางต๎นเดือนมีนาคมถึง
                       ปลายเดือนพฤศจิกายน ทั้งนี้จะเห็นได๎วําปริมาณฝนทั้ง 3 ชํวง มีปริมาณฝนเกินความต๎องการสูงที่สุดใน

                       เดือนกันยายน คิดเป็นร๎อยละ 23.82 25.05 และ 21.00 ตามลําดับ อยํางไรก็ตามในชํวงปลายของชํวงที่
                       1 ฝนมีการทิ้งชํวงยาวนานกวําชํวงที่ 2 และชํวงที่ 3 แสดงวํามีชํวงแล๎งที่ยาวนานขึ้น
                                  ความสมดุลของน้ําประจําปีเป็นรายเดือนใน 3 ชํวงเวลา ชํวงละ 10 ปี ของลุํมน้ําสาขา
                       แมํน้ําประแสร์ บํงชี้วําการคายระเหยน้ําจะเพิ่มขึ้นอยํางมีนัยสําคัญ โดยชํวงแล๎งมีความรุนแรงตํางกัน

                       โดยเฉพาะชํวงที่ 1 ซึ่งมีชํวงแล๎งที่ยาวนานกวําทุกชํวง เกษตรกรจึงควรจะมีการปรับตัวในการเพาะปลูก
                       ให๎เหมาะสมกับสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป โดยการเลื่อนชํวงระยะเวลาปลูกหรือใช๎พันธุ์พืชหรือ  76
                       ประเภทพืชที่เหมาะสมมากยิ่งขึ้นเพื่อให๎ได๎ผลผลิตที่ดี
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96