Page 124 - การประเมินความเหมาะสมของที่ดินสำหรับพืชเศรษฐกิจเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในการฟื้นฟูพื้นที่ลุ่มน้ำวิกฤต ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์
P. 124

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       104







                       4.2  การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน
                                จากการวิเคราะห์ข๎อมูลสภาพการใช๎ที่ดินในลุํมน้ําสาขาแมํน้ําประแสร์ ปี 2553 และ
                       ปี 2559 โดยใช๎ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ สามารถสรุปการเปลี่ยนแปลงการใช๎ที่ดินภายในลุํมน้ํา
                       สาขาแมํน้ําประแสร์ ได๎ดังนี้ (ตารางที่ 18 และภาพที่ 21)

                                      1)  พื้นที่เกษตรกรรม มีเนื้อที่ 1,042,153 ไรํ (ร๎อยละ 78.00) และเนื้อที่ 1,038,847 ไรํ
                       (ร๎อยละ 77.75) ในปี 2553 และปี 2559 ตามลําดับ ประกอบด๎วยพื้นที่นา พืชไรํ ไม๎ยืนต๎น ไม๎ผล พืชสวน
                       ทุํงหญ๎าและโรงเรือนเลี้ยงสัตว์ พืชน้ํา และสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ํา โดยจะเห็นได๎วําพืชหลักในพื้นที่
                       เกษตรกรรม ชํวงปี 2553 จะเป็นมันสําปะหลัง และยางพารา แตํได๎มีการเปลี่ยนแปลงการใช๎พื้นที่

                       โดยมันสําปะหลังลดลงในปี 2559 จาก 76,609 ไรํ หรือร๎อยละ 5.73 เหลืองเพียง 23,613 ไรํ หรือร๎อยละ 1.77
                       ซึ่งถือวํามีการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปลูกมันสําปะหลังลดลงถึงร๎อยละ 69 เมื่อเทียบกับพื้นที่ปลูกมันสําปะหลัง
                       ในอดีตที่ผํานมา ในขณะที่ยางพารามีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นร๎อยละ 26 หรือคิดเป็นพื้นที่ 115,518 ไรํ
                       จากพื้นที่เดิม ซึ่งเนื้อที่ของพื้นที่เกษตรกรรมโดยรวมมีการเปลี่ยนแปลงลดลง จํานวน 3,306 ไรํ

                                      2)  พื้นที่ปุาไม๎ มีเนื้อที่ 194,360 ไรํ (ร๎อยละ 14.55) และเนื้อที่ 187,278 ไรํ (ร๎อยละ 14.02)
                       ในปี 2553 และปี 2559 ตามลําดับ ประกอบด๎วยปุาไมํผลัดใบรอสภาพฟื้นฟู ปุาไมํผลัดใบสมบูรณ์ ปุาผลัดใบ
                       รอสภาพฟื้นฟู ปุาผลัดใบสมบูรณ์ ปุาชายเลนรอสภาพฟื้นฟู ปุาชายเลนสมบูรณ์ ปุาพรุสมบูรณ์ และปุาปลูก

                       สมบูรณ์ ซึ่งเนื้อที่ของพื้นที่ปุาไม๎มีการเปลี่ยนแปลงลดลง จํานวน 7,082 ไรํ คิดเป็นอัตราการเปลี่ยนแปลงพื้นที่
                       ปุาไม๎ลดลงร๎อยละ 3.64
                                      3)  พื้นที่เบ็ดเตล็ด มีเนื้อที่ 21,764 ไรํ (ร๎อยละ 1.63) และเนื้อที่ 17,438 ไรํ (ร๎อยละ 1.31)
                       ในปี 2553 และปี 2559 ตามลําดับ ประกอบด๎วยทุํงหญ๎าธรรมชาติ ทุํงหญ๎าสลับไม๎พุํม/ไม๎ละเมาะ ไผํปุา
                       ไผํหนาม พื้นที่ลุํม เหมืองเกํา บํอขุดเกํา เหมืองแรํ บํอลูกรัง บํอทราย บํอดิน พื้นที่กองวัสดุ พื้นที่ถม และพื้นที่

                       ทิ้งขยะ ซึ่งเนื้อที่ของพื้นที่เบ็ดเตล็ดมีการเปลี่ยนแปลงลดลง จํานวน 4,326 ไรํ คิดเป็นอัตราการเปลี่ยนแปลง
                       พื้นที่เป็ดเล็ดลดลงร๎อยละ 19.88
                                      4)  พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร๎าง มีเนื้อที่ 37,931 ไรํ (ร๎อยละ 2.84) และเนื้อที่ 47,493 ไรํ

                       (ร๎อยละ 3.55) ในปี 2553 และปี 2559 ตามลําดับ ประกอบด๎วยตัวเมืองและยํานการค๎า หมูํบ๎าน/ที่ดิน
                       จัดสรรร๎าง หมูํบ๎านบนพื้นราบ สถานที่ราชการและสถาบันตํางๆ ถนน พื้นที่อุตสาหกรรมร๎าง โรงงาน
                       อุตสาหกรรม ลานตากและแหลํงรับซื้อทางการเกษตร สถานที่พักผํอนหยํอนใจ รีสอร์ท โรงแรมเกสต์เฮ๎าส์
                       สุสาน ปุาช๎า สถานีบริการน้ํามัน และ  สนามกอล์ฟ ซึ่งเนื้อที่ของพื้นที่ชุมชน และสิ่งปลูกสร๎างมีการ

                       เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น จํานวน 9,562 ไรํ คิดเป็นร๎อยละ 25.21
                                      5)  พื้นที่น้ํา มีเนื้อที่ 39,885 ไรํ (ร๎อยละ 2.99) และเนื้อที่ 45,037 ไรํ (ร๎อยละ 3.37) ในปี 2553
                       และปี 2559 ตามลําดับ ประกอบด๎วยแมํน้ํา ลําห๎วย ลําคลอง หนอง บึง ทะเลสาบ อํางเก็บน้ํา บํอน้ําในไรํนา
                       และคลองชลประทาน ซึ่งเนื้อที่ของพื้นที่น้ํามีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น จํานวน 5,152 ไรํ คิดเป็นร๎อยละ 12.92
















                                                                                                                                                           89
   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129