Page 3 - การศึกษาลักษณะและสมบัติของดินที่มีวัตถุต้นกำเนิดจากหินแกรนิตบริเวณจังหวัดอุทัยธานี
P. 3

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           (1)


                                                          บทคัดยอ



                       การศึกษาลักษณะและสมบัติของดินที่มีวัตถุตนกําเนิดจากหินแกรนิตบริเวณจังหวัดอุทัยธานี ทําการศึกษา

               โดยเลือกพื้นที่ 5 บริเวณ ผลการศึกษา พบวา ลักษณะและสมบัติตางๆ ของดินผันแปรไปตามสัณฐานภูมิประเทศ

               และวัตถุตนกําเนิดของดิน ซึ่งสามารถแบงการเกิดดินตามลําดับภูมิประเทศเปน 2 กลุม คือ กลุมที่เกิดจากการ

               สลายตัวผุพังอยูกับที่และตะกอนดาดเชิงเขาของหินแกรนิต อยูในสภาพพื้นที่บริเวณพื้นผิวเหลือจากการกัดกรอน

               จําแนกดินไดดังนี้ ชุดดินทับเสลา (Tas) Loamy-skeletal, Ultic Haplustalfs ชุดดินบานไร (Bar) Coarse-loamy

               Ultic Haplustalfs และ ชุดดินลานสัก (Lsk) Coarse-loamy Typic Paleustalfs กลุมที่เกิดตะกอนน้ําพาจาก

               หินแกรนิตเปนสวนใหญ จําแนกดินไดดังนี้ ชุดดินอุทัย (Uti) Coarse-loamy Oxyaquic Haplustalfs และ ชุดดิน

               หนองฉาง (Nch) Fine-loamy Aeric Endoaqualfs

                       สมบัติทางกายภาพของดินที่ทําการศึกษาพบวา ชุดดิน Tas, Bar, Lsk และ Uti มีอนุภาคขนาดทรายอยู

               ในดินปริมาณสูง ชั้นเนื้อดินอยูในกลุมเนื้อหยาบ คาความหนาแนนรวมของดินสวนใหญอยูในระดับปานกลาง

               (1.41-1.60 เมกะกรัมตอลูกบาศกเมตร) มีสัมประสิทธิ์การนําน้ําอยูในชวงชาปานกลางถึงเร็วมาก (1.26-67.09

               เซนติเมตรตอชั่วโมง) สวนชุดดิน Nch  มีอนุภาคขนาดทรายปริมาณปานกลาง ชั้นเนื้อดินอยูในกลุมเนื้อละเอียด

               ปานกลาง ความหนาแนนรวมของดินอยูในระดับคอนขางต่ําถึงคอนขางสูง (1.28-1.76 เมกะกรัมตอลูกบาศกเมตร)

               มีสัมประสิทธิ์การนําน้ําอยูในสวนใหญอยูในระดับชามาก (0.01-0.05 เซนติเมตรตอชั่วโมง)


                       สมบัติทางเคมีของดินที่ทําการศึกษาพบวา คาปฏิกิริยาดินของชุดดิน Tas, Bar และ Lsk อยูในชวงกรดจัด

               มากถึงกรดเล็กนอย  (pH  4.6-6.4) ชุดดิน Uti  และ Nch  อยูในชวงกรดจัดมากถึงดางเล็กนอย (pH 5.0-7.6)

               ปริมาณอินทรียวัตถุในชุดดิน Tas, Bar และ Lsk อยูในระดับต่ํามากถึงปานกลาง  ( 0.8 - 19.2 กรัมตอกิโลกรัม )

               ชุดดิน Uti และ Nch อยูในระดับต่ํามากถึงคอนขางสูง (0.5-25.8 กรัมตอกิโลกรัม) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปน

               ประโยชน ชุดดิน Tas, Bar  และ Lsk อยูในระดับต่ํามากถึงสูงมาก (1.4-131.7 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) ชุดดิน Uti

               และ Nch อยูในระดับต่ํามากถึงสูง (1.0-28.7 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) ปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชน ชุดดิน

               Tas, Bar และ Lsk อยูในระดับต่ําถึงสูงมาก (30.0-319.0 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) ชุดดิน Uti และ Nch อยูในระดับ

               ต่ํามากถึงสูงมาก (14.0-164.4 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออน ชุดดิน Tas, Bar  และ Lsk

               อยูในระดับต่ําถึงคอนขางต่ํา (3.01-9.73 เซนติโมลตอกิโลกรัม)  ชุดดิน Uti และ Nch อยูในระดับต่ํามากถึง

               ปานกลาง (1.67-13.93 เซนติโมลตอกิโลกรัม) อัตรารอยละความอิ่มตัวเบสพบวา ทุกชุดดินสวนใหญอยูในระดับ

               ปานกลางถึงสูง (รอยละ 35.91-87.57)
   1   2   3   4   5   6   7   8