Page 59 - สภาพการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จังหวัดพิจิตร พ.ศ.2559
P. 59

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                               52







                       เมืองพิจิตร 2,850 ไร่  ตามล าดับ นอกจากนั้นพบเล็กน้อย ที่อ าเภอทับคล้อ อ าเภอตะพานหิน
                       อ าเภอดงเจริญ และอ าเภอสามง่าม เป็นต้น โดยพบว่าในเขตต าบลทับไทร อ าเภอสากเหล็ก มีการ
                       ส่งเสริมเกษตรกรชาวสวนมะม่วง ให้มีการรวมกลุ่มกันท าการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ท าให้มีการบริหาร
                       จัดการและการตลาดไปในทิศทางเดียวกัน ส่งผลให้มีอ านาจต่อรองทางการตลาด และการปลูกมะม่วง

                       มีการลงทุนลดลง พันธุ์มะม่วงที่ปลูก ได้แก่ พันธุ์น้ าดอกไม้สีทอง และพันธุ์เขียวเสวย ซึ่งเป็นพันธุ์ที่ปลูก
                       เพื่อการส่งออก ประเทศที่มีการสั่งซื้อที่ส าคัญ คือ ประเทศญี่ปุ่น เกาหลี เวียดนามและจีน (ภาพที่ 15)
                                        (2)  กล้วย (A411) มีเนื้อที่ 26,092 ไร่ หรือร้อยละ 0.92 ของเนื้อที่จังหวัด
                       พบปลูกมากที่สุดในพื้นที่อ าเภอบึงนาราง 12,795 ไร่ รองลงมา อ าเภอเมืองพิจิตร 3,493 ไร่ และ

                       อ าเภอโพทะเล 466 ไร่ ตามล าดับ นอกจากนั้นพบเล็กน้อย ที่อ าเภอโพธิ์ประทับช้าง อ าเภอสามง่าม
                       อ าเภอตะพานหิน และอ าเภอวชิรบารมี เป็นต้น โดยพบว่าในพื้นที่อ าเภอบึงนารางก าลังให้ความสนใจ
                       ปลูกกล้วยอย่างมาก เนื่องจากกล้วยเป็นพืชที่ใช้น้ าน้อย และมีราคาดี ปลูก 8-9 เดือน สามารถเก็บ
                       เกี่ยวผลผลิตได้ พันธุ์ที่นิยมปลูก คือ พันธุ์กล้วยน้ าว้า

                                        (3)  ส้มโอ (A427) มีเนื้อที่ 20,911 ไร่ หรือร้อยละ 0.74 ของเนื้อที่จังหวัด
                       พบปลูกมากที่สุดในพื้นที่อ าเภอโพธิ์ประทับช้าง 12,416 ไร่ รองลงมาอ าเภอเมืองพิจิตร 5,894 ไร่
                       และอ าเภอตะพานหิน 2,207 ไร่ ตามล าดับ นอกจากนั้นพบเล็กน้อย ที่อ าเภอสามง่าม อ าเภอสากเหล็ก

                       อ าเภอบึงนาราง อ าเภอโพทะเล และอ าเภอวชิรบารมี เป็นต้น พันธุ์ที่ปลูกได้แก่ พันธุ์ท่าข่อย ซึ่งเป็น
                       พันธุ์ที่มีชื่อเสียงของจังหวัด พันธุ์ขาวแตงกวา และพันธุ์ทองดี เป็นต้น
                                        (4)  ส าหรับไม้ผลอื่น ๆ ที่พบ ได้แก่ ไม้ผลร้าง/ไม้ผลเสื่อมโทรม (A400) 782 ไร่
                       ไม้ผลผสม (A401) 13,892 ไร่ ส้ม (A402) 3,288 ไร่ ทุเรียน (A403) 143 ไร่ และมะพร้าว (A405)
                       541 ไร่ พบมากที่อ าเภอเมืองพิจิตร พุทรา (A409) 136 ไร่ พบมากที่อ าเภอโพทะเล น้อยหน่า (A410)

                       58ไร่ พบมากที่อ าเภอโพธิ์ประทับช้าง มะขาม (A412)  1,175 ไร่ พบมากที่อ าเภอทับคล้อ ล าไย (A413)
                       152 ไร่ พบมากที่อ าเภอสามง่าม ฝรั่ง(A414) 230 ไร่ พบมากที่อ าเภอโพธิ์ประทับช้าง มะละกอ (A415)
                       920 ไร่ พบมากที่อ าเภอบึงนาราง ขนุน (A416) 109 ไร่ และกระท้อน (A417) 43 ไร่ พบมากที่

                       อ าเภอเมืองพิจิตร ชมพู่ (A418) 69 ไร่ พบมากที่อ าเภอตะพานหิน มะนาว (A422) 13,447 ไร่
                       พบมากที่อ าเภอโพทะเล มะขามเทศ (A424) 10 ไร่ พบมากที่อ าเภอดงเจริญ และอ าเภอทับคล้อ
                       แก้วมังกร (A426) 89 ไร่ พบมากที่อ าเภอโพธิ์ประทับช้าง ละมุด (A428) 78 ไร่ พบมากที่อ าเภอ
                       ตะพานหิน และมะปราง มะยงชิด (A429) 1,615 ไร่ พบมากที่อ าเภอสากเหล็ก

                                  5)    พืชสวน (A5) มีเนื้อที่ 5,319 ไร่ หรือร้อยละ 0.19 ของเนื้อที่จังหวัด ประกอบด้วย
                       พืชสวนร้าง/เสื่อมโทรม (A500) 246 ไร่ หรือร้อยละ 0.01 ของเนื้อที่จังหวัด ได้แก่ สวนองุ่นร้าง พบที่
                       อ าเภอดงเจริญ พืชผัก (A502) 4,345 ไร่ หรือร้อยละ  0.15  ของเนื้อที่จังหวัด ที่พบ เช่น ถั่วฝักยาว
                       มะเขือยาว และมะระ เป็นต้น นอกจากการปลูกผักแบบทั่วไปแล้ว ยังมีการปลูกผักปลอดสารพิษ

                       จะมีการสร้างโรงเรือนและมีระบบการจัดการน้ าและปุ๋ยเป็นอย่างดี พบปลูกมากที่อ าเภอเมืองพิจิตร
                       ไม้ดอก ไม้ประดับ (A503) 492 ไร่ หรือร้อยละ 0.02 ของเนื้อที่จังหวัด ที่พบได้แก่ ดอกรัก ดาวเรือง
                       และมะลิ พบปลูกมากที่อ าเภอบึงนาราง องุ่น (A504) 224  ไร่ หรือร้อย 0.01  ของเนื้อที่จังหวัด
                       พบปลูกที่อ าเภอดงเจริญ ได้แก่ ไร่องุ่นขจรฟาร์ม และพืชสมุนไพร(A509) 12 ไร่ ได้แก่ กระชายด า

                       พบปลูกที่อ าเภอโพธิ์ประทับช้าง
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64