Page 56 - การจัดการดินเพื่อปลูกอ้อยในกลุ่มชุดดินที่ 24 จังหวัดชลบุรีโครงการนำร่องการผลิตพืชตามเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเพื่อพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันในประชาคมอาเซียน
P. 56

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        45






                                                        สรุปผลการทดลอง



                              1.  การศึกษาการจัดการดินด๎วยการใช๎ปุ๋ยเคมีในวิธีการตําง ๆ  ท าให๎สมบัติทางเคมีของดิน

                       มีการเปลี่ยนแปลง  โดยที่คําพีเอชของดินในทุกต ารับการทดลองจะลดลง  ยกเว๎นวิธีการใสํปุ๋ยของ
                       เกษตรกรจะคงเดิม  ปริมาณอินทรียวัตถุของทุกต ารับการทดลองมีคําเพิ่มขึ้น  ฟอสฟอรัสของทุก

                       ต ารับการทดลองมีคําลดลง  สํวนโพแทสเซียมของต ารับการทดลองสํวนใหญํมีคําเพิ่มขึ้น  ยกเว๎น

                       วิธีการใสํปุ๋ยตามค าแนะน าจากโปรแกรมดินไทยรํวมกับน้ าหมักชีวภาพ

                              2. การเจริญเติบโตของอ๎อย  พบวํา  การใสํปุ๋ยตามค าแนะน าจากโปรแกรมดินไทยรํวมกับ
                       น้ าหมักชีวภาพ  ท าให๎อ๎อยมีความสูงของต๎น  2.80  เมตร  การแตกกอสูงที่สุด  และคําความหวาน

                       ของอ๎อยจากการใสํปุ๋ยตามค าแนะน าจากโปรแกรมการจัดการดินและปุ๋ยรายแปลงรํวมกับน้ าหมัก

                       ชีวภาพสูงสุด  23.8  องศาบริกซ์  สํวนผลผลิตของอ๎อยจากวิธีการใสํปุ๋ยตามค าแนะน าจากโปรแกรม
                       ดินไทยรํวมกับน้ าหมักชีวภาพสูงสุด  13,730.00  กิโลกรัมตํอไรํ

                              3.  การศึกษาผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ  พบวํา  วิธีการใสํปุ๋ยตามค าแนะน าจากโปรแกรม

                       ดินไทยรํวมกับน้ าหมักชีวภาพมีต๎นทุนสูงสุด  11,336.50  บาทตํอไรํ แตํเนื่องจากให๎ผลผลิตมากกวํา
                       วิธีการอื่น ๆ  จึงท าให๎ได๎รายได๎สุทธิสูงสุด  3,217.30  บาทตํอไรํ



                                                          ข้อเสนอแนะ



                              1.  การใช๎น้ าหมักชีวภาพในพืช  ควรท าเป็นระยะเวลามากกวํา 1 ปี  เนื่องจากน้ าหมัก

                       ชีวภาพจะชํวยปรับโครงสร๎างของดิน  ท าให๎ผลผลิตได๎ผลดี  เมื่อใช๎เวลามากกวํา 1 ปี
                              2.  ควรแนะน าสํงเสริมให๎เกษตรกรเห็นความส าคัญ  และการใช๎ประโยชน์จากวัสดุเหลือใช๎

                       ในแตํละวันมาผลิตน้ าหมักชีวภาพใช๎ในการเกษตรในขณะพืชก าลังเจริญเติบโต  เพื่อเพิ่มความอุดม

                       สมบูรณ์ของดินและผลผลิต  เป็นการลดต๎นทุนการผลิตของเกษตรกรได๎ทางหนึ่ง
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61