Page 57 - การใช้ประโยชน์ของชุดตรวจดินภาคสนามสำหรับการจัดการปุ๋ยเพื่อการปลูกพืชผักในจังหวัดลำพูน
P. 57

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       44







                                     9) การสะสมธาตุอาหารในผลผลิตตัดแต่ง
                                     ผลของอัตราการใส่ปุ๋ยต่อการสะสมไนโตรเจน  ฟอสฟอรัส  และโพแทสเซียม   ใน
                       ผลผลิตตัดแต่งของผักคะน้า พบว่า การสะสมไนโตรเจน ในทุกต ารับการทดลองไม่มีความแตกต่าง
                       กันทางสถิติ ส่วนการสะสมฟอสฟอรัส พบว่า ต ารับการทดลองที่ 1 มีค่าต่ าสุด คือ 0.77 กิโลกรัมต่อ

                       ไร่ และแตกต่างกันทางสถิติ เมื่อเปรียบเทียบกับต ารับการทดลองที่  4, 5 และ 6  ที่มีค่า 1.12, 1.32
                       และ 1.11 กิโลกรัมต่อไร่ ตามล าดับ แต่ไม่แตกต่างกันทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับต ารับการทดลองที่
                       2 และ 3 ที่มีค่า 0.97 และ 0.98 กิโลกรัมต่อไร่ ตามล าดับ ส าหรับต ารับการทดลองที่ 5 มีค่าสูงสุด
                       คือ 1.32 กิโลกรัมต่อไร่ และการสะสมโพแทสเซียม พบว่า ต ารับการทดลองที่ 1 มีค่าต่ าสุด คือ 5.68

                       กิโลกรัมต่อไร่ และแตกต่างกันทางสถิติ เมื่อเปรียบเทียบกับต ารับการทดลองที่  2, 3, 4, 5 และ 6 ที่มี
                       ค่า 9.70, 9.09, 9.00, 9.20 และ 9.57 กิโลกรัมต่อไร่ ตามล าดับ ดังตารางที่ 20

                                                     1
                       ตารางที่ 20  ผลของอัตราการใส่ปุ๋ย ต่อการสะสมไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม
                                    ในผลผลิตตัดแต่ง ของผักคะน้า (กิโลกรัมต่อไร่) พ.ศ. 2557

                        ต ารับ           วิธีการ           N-P O -K O  การสะสมธาตุอาหารในผลผลิตตัดแต่ง
                                                               2 5
                                                                    2
                          ที่                                (กก./ไร่)        N          P           K
                          1              ไม่ใส่ปุ๋ย            0-0-0         9.67      0.77  c     5.68 b

                          2             เกษตรกร            12.5-3.5-3.5     13.28     0.97 bc      9.70 a
                          3         กรมวิชาการเกษตร           15-5-5        12.44     0.98 bc      9.09 a

                                           4
                          4    UptakeN-INS , Critical P, K   10.1-0-0       13.16     1.12 ab      9.00 a
                          5       Uptake+30%uptake           13.2-0-0       12.49      1.32  a     9.20 a
                          6         LDD soil test kit         15-5-5        13.46     1.11 ab      9.57 a

                                                                                          3
                                                                               2
                                                              F - test       ns          *           ns
                                                              CV (%)        14.12      14.31       15.16

                       หมายเหตุ:     1  ค่าเฉลี่ยของ 4 ซ้ า
                                     2
                                      ns หมายถึง non significant ไม่แตกต่างกันที่ระดับ 0.05
                                     3
                                      * หมายถึง แตกต่างกันที่ระดับ 0.05
                                     4
                                       INS หมายถึง indigenous N supply หรือ ปริมาณการปลดปล่อยไนโตรเจน
                                       จากอินทรียวัตถุในดิน
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62