Page 109 - ศักยภาพของพื้นที่ใช้ในการผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในระบบเกษตรอินทรีย์ของเกษตรกรในพื้นที่จังหวัดยโสธร
P. 109

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       94







                                               สมบัติทางเคมีของดินในกลุ่มชุดดินที่ 44
                               กลุ่มดินทรายหนาในที่ดอน  ได้แก่ชุดดินจันทึก (Cu) ด่านขุนทด (Dk)  และ น้ าพอง (Ng)
                            สภาพพื้นที่ :                 ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อยถึงเป็น
                                                          ลูกคลื่นลอนลาด

                            ความลาดชัน :                  3-10 เปอร์เซ็นต์
                            เนื้อดิน  - ดินบน :           ดินทรายหรือดินทรายปนดินร่วน
                                   - ดินล่าง :            ดินทรายปนดินร่วน
                            ความลึก :                     ดินลึก

                            การระบายน้้า :                ดีถึงดีมากเกินไป (somewhat
                                                          excessively drained)
                            การซาบซึมน้้า :               เร็ว

                            การไหลบ่าของน้้าบนผิวดิน :    เร็ว                                 หน้าตัดดิน








                                                           บริเวณที่พบ

                       สมบัติทางเคมีที่ส้าคัญ
                                 อินทรียวัตถุ*   ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์  โพแทสเซียมที่เป็น   ปฏิกิริยาดิน
                                (เปอร์เซ็นต์)      (มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)       ประโยชน์

                                                                      (มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)
                         ดินบน      0.4                2.6                   26.8            5.0-6.5
                         ดินล่าง     0.2               2.0                   19.4            5.0-6.5
                       หมายเหตุ : * เปอร์เซ็นต์ไนโตรเจน มีค่าเท่ากับ เปอร์เซ็นต์อินทรียวัตถุ x 0.05

                       ตัวเลขสีแดง หมายถึง อยู่ในเกณฑ์ต่ า ส่วนค่าความเป็นกรดเป็นด่างอยู่ในเกณฑ์ต่ ามาก
                       ตัวเลขสีส้ม หมายถึง อยู่ในเกณฑ์ปานกลาง
                       ตัวเลขสีเขียว หมายถึง อยู่ในเกณฑ์สูง

                       พืชพรรณและการใช้ประโยชน์ :  ป่าเต็งรัง บางแห่งป่าถูกโค่นถางเพื่อใช้พื้นที่ปลูกพืชไร่ต่างๆ เช่น
                       มันส าปะหลัง อ้อย แตงโม เป็นต้น
                       ข้อจ้ากัดในการใช้ประโยชน์ :  มีเนื้อดินเป็นทรายจัด พืชขาดน้ าได้ง่าย ดินมีความอุดมสมบูรณ์ตาม
                       ธรรมชาติต่ าและมีโครงสร้างไม่ดี  บริเวณที่มีความลาดชันสูงจะมีปัญหาเกี่ยวกับการชะล้างพังทลาย

                       ของหน้าดินอย่างรุนแรง
   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114