Page 11 - โครงการ 60 พรรษา สยามบรมราชกุมารี 60 เขตปฐพีพัฒนาอย่างยั่งยืน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยฝ่าย-ห้วยสะท้อน (ศก.7) ลุ่มน้ำสาขา แม่น้ำมูล ส่วนที่ 3 ลุ่มน้ำหลัก แม่น้ำมูล อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ
P. 11

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         1







                                                             บทที่ 1
                                                             บทน า

                       1.1 หลักการและเหตุผล

                              ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม ทรัพยากรดินจึงเป็นปัจจัยพื้นฐานที่ส าคัญทาง
                       การเกษตร ซึ่งดินในแต่ละพื้นที่มีคุณสมบัติแตกต่างกันตามวัตถุต้นก าเนิดตามสภาพพื้นที่การใช้
                       ประโยชน์ที่ดิน และจากการใช้ประโยชน์ที่ดินท าให้พบดินปัญหาหลายชนิด เช่น ดินเปรี้ยว ดินกรด
                       ดินเค็ม ดินอินทรีย์ ดินทราย ดินตื้น ดินลูกรัง และดินบนพื้นที่สูงเกิดการชะล้างพังลาย ดินปัญหา

                       ดังกล่าวท าให้การปลูกพืชไม่สามารถเจริญเติบโตได้ดีให้ผลผลิตน้อยจึงจ าเป็นต้องหาแนวทางป้องกัน
                       และแก้ไขปัญหา
                              กรมพัฒนาที่ดินในฐานะองค์กรหลักในด้านการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรดินให้มีความอุดม
                       สมบูรณ์ ได้ด าเนินงานด้านการพัฒนาทรัพยากรดิน การอนุรักษ์ดินและน้ า การปรับปรุงบ ารุงดิน การ

                       ส ารวจและวางแผนการใช้ที่ดิน ตลอดจนการพัฒนาฐานข้อมูลดินและเทคโนโลยีด้านการพัฒนาที่ดิน
                       มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาที่ดินอย่างต่อเนื่องนั้น เพื่อให้เห็นภาพรวมของการพัฒนาที่ดินในเชิงพื้นที่
                       กรมพัฒนาที่ดินจึงมีนโยบายให้ด าเนินการจัดท าเขตพัฒนาที่ดินในกรอบของพื้นที่ลุ่มน้ าตั้งแต่ปี 2550

                       ซึ่งปัจจุบันได้ประกาศเป็นท าเนียบวงรอบเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ าขึ้นในเดือนสิงหาคม 2556 ครอบคลุม
                       พื้นที่ 77 จังหวัด รวมทั้งหมด 525 แห่ง แล้วบูรณาการกิจกรรมต่างๆ ด้านการพัฒนาที่ดินลงในพื้นที่
                       เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ านั้นๆ ซึ่งขณะนี้ได้พัฒนาพื้นที่ดินปัญหาให้สามารถใช้ประโยชน์ที่ดินได้มากขึ้น
                       ตามล าดับ อีกทั้งมีความสอดคล้องกับแนวทางตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พุทธศักราช 2551 ซึ่ง
                       เป็นกฎหมายที่ให้อ านาจกรมพัฒนาที่ดินเข้าไปด าเนินการพัฒนาที่ดินในพื้นที่ต่างๆ ได้อย่างมี

                       ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และเป็นกลไกส าคัญในการป้องกันและแก้ไขปัญหาทรัพยากรที่ดินการเสื่อม
                       โทรมและพังทลายของดิน
                              ในการนี้ กรมพัฒนาที่ดินจึงได้จัดท า “โครงการ 60 พรรษา สยามบรมราชกุมารี 60 เขตปฐพี

                       พัฒนาอย่างยั่งยืน” เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรง
                       เจริญพระชนมายุครบ 60 พรรษา 2 เมษายน 2558  โดยด าเนินการส ารวจและจัดท าฐานข้อมูลทั้ง
                       ทางด้านทรัพยากรธรรมชาติ สภาพเศรษฐกิจและสังคม เพื่อใช้ในการวิเคราะห์วางแผนการใช้
                       ประโยชน์ที่ดิน เพื่อการใช้ประโยชน์ที่ดินได้อย่างถูกต้องและเกิดประโยชน์สูงสุด อีกทั้งการก าหนด

                       มาตรการอนุรักษ์ทรัพยากรดินและน้ าไปพร้อมกับการท าเกษตรกรรมและด้านอื่นๆ ซึ่งจะพัฒนาพื้นที่
                       เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ า 60 แห่ง ให้เป็นพื้นที่ต้นแบบให้กับเกษตรกร และองค์การบริหารส่วนต าบล
                       น าไปเป็นแบบอย่างในการพัฒนาพื้นที่เกษตรกรรม เพื่อให้เห็นถึงประโยชน์ของการพัฒนาที่ดิน การ
                       อนุรักษ์ดินและน้ า ให้สามารถใช้ประโยชน์ที่ดินได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน

                              โดยส านักงานพัฒนาที่ดินเขต 4  ได้คัดเลือกเขตพัฒนาที่ดินห้วยฝาย-ห้วยสะท้อน ล าดับที่
                       ศก.7 (2556) เป็นตัวแทนในการด าเนินการโครงการฯ ในพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษ เนื่องจากเขตพัฒนา
                       ที่ดินลุ่มน้ าห้วยฝาย-ห้วยสะท้อน มีปัญหาในการท าการเกษตรได้แก่ ทรัพยากรที่ดินเสื่อมโทรม การ
                       ขาดแคลนน้ าเพื่อการเกษตร แหล่งน้ าธรรมชาติตื้นเขิน การใช้ที่ดินไม่เหมาะสม ผลผลิตทาง

                       การเกษตรตกต่ า ในช่วงที่ฝนตกหนักมีปริมาณมากระบายไม่ทัน ที่ส าคัญมักเกิดอุทุกภัยท่วมพื้นที่
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16