Page 3 - รายงานการสำรวจดินพื้นที่ดำเนินการบ้านแม่จว้าปันเจิง หมู่ที่ 7 ตำบลแม่สุก อำเภอแม่ใจ และบ้านใหม่นคร หมู่ที่ 8 ตำบลบ้านใหม่ อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำน้ำแม่อิงเขตที่ 2 (หนองเล็งทราย) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำอิงตอนบน (รหัส 0204) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำโขง (รหัส 02)
P. 3

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน








                                                        บทคัดย่อ


                           เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้้า เป็นนโยบายที่กรมพัฒนาที่ดินได้จัดตั้งขึ้นเพื่อด้าเนินกิจกรรมด้านการ
                  พัฒนาที่ดินและการอนุรักษ์ดินและน้้า โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะจัดระบบงานพัฒนาที่ดินของกรมพัฒนาที่ดิน
                  ให้เป็นรูปธรรม โดยการบูรณาการกิจกรรมที่เกี่ยวข้องของกรมพัฒนาที่ดิน เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา
                  ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรดินและที่ดิน พัฒนาพื้นที่ที่ประสบปัญหาในด้านการเกษตรในลักษณะของพื้นที่ลุ่มน้้า


                           เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้้าน้้าแม่อิงตอนบนเขตที่ 2 (หนองเล็งทราย) ลุ่มน้้าสาขาแม่น้้าอิงตอนบน
                  (รหัส 0204) ลุ่มน้้าหลักแม่น้้าโขง (รหัส 02) มีเนื้อที่ 234,590 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่อ้าเภอเมืองพะเยาและ
                  อ้าเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบถึงค่อนข้างราบเรียบ
                           ทรัพยากรดินที่พบจ้าแนกได้ 14 หน่วยแผนที่ ได้แก่ กลุ่มชุดดินในที่ลุ่ม 5 หน่วยแผนที่ ได้แก่

                  กลุ่มชุดดินที่ 5 6 7 15 และ 18 กลุ่มชุดดินในที่ดอน 9 หน่วยแผนที่ ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 35gm 35gmB 35B
                  35C 48C 48D 48E 56C และ 62 และพื้นที่เบ็ดเตล็ด 2 หน่วยแผนที่ ได้แก่ พื้นที่ชุมชนและพื้นที่น้้า
                           สภาพการใช้ที่ดิน ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่เกษตรกรรม รองลงมาเป็นพื้นที่ป่าไม้ พื้นที่เบ็ดเตล็ด พื้นที่
                  ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง และพื้นที่น้้า ตามล้าดับ มีแหล่งน้้าธรรมชาติขนาดเล็กไหลผ่านหลายสาย และมี

                  แหล่งน้้าที่สร้างขึ้น จ้านวน 9 อ่างเก็บน้้า การท้าการเกษตรส่วนใหญ่เป็นแบบอาศัยน้้าฝน
                           ด้านความเหมาะสมของดิน ดินในพื้นที่ลุ่มเหมาะสมส้าหรับปลูกข้าว มีข้อจ้ากัดเล็กน้อยเรื่อง
                  เนื้อดินและความอุดมสมบูรณ์ของดินต่้า ในพื้นที่ดอนส่วนใหญ่เหมาะสมส้าหรับปลูกพืชไร่ ไม้ผล และไม้ยืนต้น
                  โดยมีข้อจ้ากัดเรื่องความอุดมสมบูรณ์ของดินต่้า ดินตื้นปนเศษหิน และพื้นที่มีความลาดชัน

                           จากการวิเคราะห์ข้อมูลด้านกายภาพและสภาพปัญหาทรัพยากรดินในเขตพัฒนาที่ดิน สามารถ
                  ก้าหนดพื้นที่ด้าเนินการ บ้านแม่จว้าปันเจิง หมู่ที่ 7 ต้าบลแม่สุก อ้าเภอแม่ใจ และบ้านใหม่นคร หมู่ที่ 8 ต้าบลบ้านใหม่
                  อ้าเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ อยู่สูงจากระดับ

                  ทะเลปานกลางประมาณ 398-444 เมตร สภาพการใช้ที่ดินส่วนใหญ่เป็นพื้นที่เกษตรกรรม รองลงมาเป็น
                  พื้นที่ป่าไม้ พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง พื้นที่เบ็ดเตล็ด และพื้นที่แหล่งน้้า
                           ทรัพยากรดินพื้นที่ด้าเนินการ ส่วนใหญ่จะเป็นดินในพื้นที่ดอน เป็นดินลึกมาก การระบายน้้าดี
                  ปานกลางถึงดี มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย ได้แก่ หน่วยแผนที่ Sp-gm,fl-slA/d ,E  Sp-gm,fl-slB/d ,E
                                                                                    5 0
                                                                                                    5 1
                  Sp-gm,fl-slA/d ,E ,b Sp-mw,fl-slB/d ,E  Mt-fl-slB/d ,E  และ Mt-fl-slC/d ,E  ดินในที่ลุ่มส่วนใหญ่เป็น
                                                  5 1
                               5 0
                                                                                5 1
                                                               5 1
                  ดินลึกมาก การระบายน้้าเลวถึงค่อนข้างเลว มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนดินเหนียว ได้แก่ หน่วยแผนที่
                  AC-pd,fl-clA/d ,E  AC-spd,fl-clA/d ,E  Ph-spd-clA/d ,E  และหน่วยแผนที่เบ็ดเตล็ด ได้แก่ พื้นที่
                                                  5 0
                                                                   5 0
                               5 0
                  ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง (U) และพื้นที่น้้า (W)  ด้านความเหมาะสมของดินในที่ลุ่ม พบว่า ส่วนใหญ่
                  เหมาะสมดีส้าหรับปลูกข้าว ในพื้นดอนเหมาะสมดีมากส้าหรับปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มันส้าปะหลัง
                  ยางพารา ปาล์มน้้ามัน ล้าไย และลิ้นจี่
                           จากสภาพพื้นที่ด้าเนินการที่มีลักษณะเป็นตัวแทนของพื้นที่ที่มีการใช้ที่ดินอย่างต่อเนื่องโดยขาด
                  การปรับปรุงบ้ารุงดิน พื้นที่ส่วนใหญ่ประสบปัญหาดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่้า ดังนั้น การใช้มาตรการอนุรักษ์
                  ดินและน้้า ด้วยวิธีการปรับรูปแปลงนา เมื่อเกิดปัญหาราคาผลผลิตข้าวตกต่้า จะต้องมีพืชทางเลือก

                  โดยเฉพาะไม้ผลและไม้ยืนต้นให้เกษตรกรได้ปลูกตามความเหมาะสมของดินซึ่งสามารถน้ามาทดแทนหรือ
                  เสริมรายได้ให้แก่เกษตรกร
   1   2   3   4   5   6   7   8