Page 104 - รายงานการสำรวจดินพื้นที่ดำเนินการบ้านแม่จว้าปันเจิง หมู่ที่ 7 ตำบลแม่สุก อำเภอแม่ใจ และบ้านใหม่นคร หมู่ที่ 8 ตำบลบ้านใหม่ อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำน้ำแม่อิงเขตที่ 2 (หนองเล็งทราย) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำอิงตอนบน (รหัส 0204) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำโขง (รหัส 02)
P. 104

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                     77





                  การประเมินระดับความอุดมสมบูรณ์ของดิน


                   ความลึก      OM         Avai. P     Avai. K       CEC         BS      ความอุดมสมบูรณ์
                    (ซม.)      (g/kg)     (mg/kg)     (mg/kg)     (cmol /kg)     (%)         ของดิน
                                                                       c
                    0-25       14.40       15.63       41.21          -           -            ต่้า
                                (ต่้า)   (ปานกลาง)      (ต่้า)       (ต่้า)      (ต่้า)
                    25-50       9.60       18.33       25.64          -           -            ต่้า
                                (ต่้า)   (ปานกลาง)      (ต่้า)       (ต่้า)      (ต่้า)
                   50-100      12.80        6.12       37.56          -           -            ต่้า
                                (ต่้า)      (ต่้า)      (ต่้า)       (ต่้า)      (ต่้า)
                   100-150      5.10        9.88       11.73          -           -            ต่้า
                                (ต่้า)      (ต่้า)      (ต่้า)       (ต่้า)      (ต่้า)
                  *หมายเหตุ : ค่า CEC และ BS อ้างอิงจากชุดดินข้างเคียงที่ได้จากการวิเคราะห์ในพื้นที่ด้าเนินการพบว่ามีค่าต่้า
                         จุดเก็บตัวอย่างดิน : พิกัด 583728 E และ 2134114 N
                                ดินตะกอนน้้าพาเชิงซ้อนที่มีการระบายน้้าเลวและดินร่วนละเอียด พบ 1 หน่วยแผนที่ คือ

                                   หน่วยแผนที่ AC-pd,fl-clA/d ,E   : ดินตะกอนน้้าพาเชิงซ้อนที่มีการระบายน้้าเลว
                                                            5 0
                  และดินร่วนละเอียด มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนดินเหนียว ความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ ลึกมาก ไม่มีการ
                  กร่อน มีเนื้อที่ 85 ไร่ หรือร้อยละ 2.88




                                                     2) ดินตะกอนน้ าพาเชิงซ้อนที่มีการระบายน้ าค่อนข้างเลว
                                              และดินร่วนละเอียด (Alluvial Complex somewhat poorly

                                              drained and fine loamy variants : AC-spd, fl)
                                                     การจ าแนกดิน :  Fine loamy, mixed, active, nonacid,

                                              isohyperthermic Aeric Endoaquepts
                                                     การก าเนิด : เกิดจากการทับถมของตะกอนล้าน้้าร่วมกับ

                                              วัสดุที่สลายตัวผุพังจากหินที่เป็นวัตถุต้นก้าเนิดดิน แล้วถูก
                                              เคลื่อนย้ายตามแรงโน้มถ่วงของโลกจากบริเวณที่สูงกว่าลงไปทับถม
                                              บริเวณทางน้้าระหว่างเนิน
                                                     สภาพพื้นที่ : ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ มีความลาดชัน

                                              0-2 เปอร์เซ็นต์
                                                     การระบายน้ า : ค่อนข้างเลว
                                                     การไหลบ่าของน้ าบนผิวดิน : ช้า
                                                     การซึมผ่านได้ของน้ า : ช้า

                                                     การใช้ประโยชน์ที่ดิน : นาข้าว
                                                     การจัดเรียงชั้น : Apg-Bg1-Bg2
   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109