Page 91 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองหวาย-คลองโพล้ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์(รหัส 1805) ลุ่มน้ำหลักชายฝั่งทะเลตะวันออก(รหัส 18) พื้นที่ดำเนินการโครงการ บ้านคลองป่าไม้ หมู่ 6 บ้านเขาผักกูด หมู่ 7 ตำบลกระแสบน อำเภอแกลง จังหวัดระยอง
P. 91

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       68




                   แม่น้ าประแสร์เกิดเป็นแม่น้ าสายใหญ่ขึ้นแล้วไหลสู่ทิศใต้โดยมีคลองร าแพนไหลมารวมก่อนไหลลงสู่อ่าว

                   ไทย บริเวณบ้านแหลมสน ต าบลปากน้ าประแสร์ อ าเภอแกลง จังหวัดระยอง แม่น้ าประแสร์เป็นแม่น้ า
                   ขนาดใหญ่มีน้ าไหลตลอดปี และมีการควบคุมปริมาณน้ าจากการปล่อยน้ าของอ่างเก็บน้ าประแสร์ สามารถ
                   น าไปใช้ประโยชน์ทางการเกษตรได้ บริเวณใกล้ปากน้ าประแสร์ประสบปัญหาน้ ากร่อยเนื่องจากน้ าทะเล
                   หนุนในช่วงฤดูแล้งและมีการใช้พื้นที่ส่วนใหญ่ในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ ามากกว่าการเพาะปลูก

                                 เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ าคลองหวาย-คลองโพล้ มีคลองส่งน้ าชลประทานจากอ่างเก็บน้ าประแสร์
                   เข้าสู่พื้นที่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือส่งน้ าไปทางตอนกลางของพื้นที่ลุ่มน้ าไปบรรจบกับคลองวังน้ าขาว
                   ซึ่งระบบการกระจายน้ ายังไม่ครอบคลุมทั่วพื้นที่เกษตรกรรม นอกจากนั้นยังมีอ่างเก็บน้ าหนองสบเสือ
                   หนอง บึงธรรมชาติและสระเก็บน้ าในไร่นากระจายอยู่ทั่วไปในพื้นที่ (ภาพที่ 8)


                                 7.2.5  สภาพการใช้ที่ดิน
                                 ผลการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดินบริเวณพื้นที่ลุ่มน้ าคลองหวาย-คลอง

                   โพล้ จังหวัดระยอง จากข้อมูลแผนที่สภาพการใช้ที่ดิน มาตราส่วน 1:25,000 (ส านักส ารวจดินและวิจัย
                   ทรัพยากรดิน, 2556) พบว่า การใช้ที่ดินส่วนใหญ่เป็นพื้นที่เกษตรกรรม มีเนื้อที่ 145,607 ไร่ หรือร้อยละ
                   89.01 ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน รองลงมาเป็นเป็นพื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง มีเนื้อที่ 8,027 ไร่ หรือ
                   ร้อยละ 4.90 ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน พื้นที่น้ า มีเนื้อที่ 4,470 ไร่ หรือร้อยละ 2.74 ของพื้นที่เขตพัฒนา

                   ที่ดิน พื้นที่ป่าไม้ มีเนื้อที่ 2,813 ไร่ หรือร้อยละ 1.72 ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน และพื้นที่เบ็ดเตล็ด มีเนื้อที่
                   2,670 ไร่ หรือร้อยละ 1.63 ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน
                                 การใช้ที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม (ตารางที่ 8 และภาพที่ 12) ประกอบด้วย

                                    1) นาข้าว (A1) มีเนื้อที่ 10,852 ไร่ หรือร้อยละ 6.63 ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน พบ
                   ทั้งพื้นที่นาร้างและนาข้าว พบมากด้านทิศตะวันตกบริเวณตอนกลางและตอนล่างไปทางด้านทิศตะวันออก
                   ของพื้นที่
                                    2) พืชไร่ (A2) มีเนื้อที่ 3,716 ไร่ หรือร้อยละ 2.27 ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน พืชไร่ที่
                   ส าคัญ คือ มันส าปะหลัง อ้อย และสับปะรด บางพื้นที่พบเป็นไร่ร้าง พื้นที่พืชไร่พบกระจายอยู่ประปราย

                   ตั้งแต่พื้นที่ตอนบนถึงตอนล่างของพื้นที่ลุ่มน้ าเขตพัฒนาที่ดิน
                                    3)  ไม้ยืนต้น (A3) มีเนื้อที่ 99,173 ไร่ หรือร้อยละ 60.64 ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน ไม้ยืนต้น
                   ที่ส าคัญ คือ ยางพารา ปาล์มน้ ามัน และ ยูคาลิปตัส ไม้ยืนต้นอื่นๆ ที่พบได้แก่ กฤษณา สัก สนประดิพัทธ์

                   หมาก ตะกู พบมากทั่วบริเวณตั้งแต่ตอนบนถึงตอนกลางค่อนข้างล่างของพื้นที่ลงมาทางทิศตะวันออกเฉียงใต้
                                    4) ไม้ผล (A4) มีเนื้อที่ 25,260 ไร่ หรือร้อยละ 15.44 ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน ไม้
                   ผลที่ส าคัญ คือ ทุเรียน มังคุด ขนุน เงาะ มะพร้าว ล าไย ลางสาด ลองกอง ส้มโอ ส่วนใหญ่พบการปลูก
                   แบบสวนผสม พบการปลูกกระจายทั่วไปตั้งแต่บริเวณตอนบน ตอนกลาง ถึงตอนล่างด้านทิศตะวันออก

                                   5) พืชสวน (A5) มีเนื้อที่ 63 ไร่ หรือร้อยละ 0.03 ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน พบเป็น
                   การปลูกพืชผัก ไม้ดอกไม้ประดับ
                                   6) ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์และโรงเรือนเลี้ยงสัตว์ (A7) มีเนื้อที่ 252 ไร่ หรือร้อยละ 0.15
                   ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน พบเป็นทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์และโรงเรือนเลี้ยงสัตว์ปีก

                                   7) สถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ า (A9) มีเนื้อที่ 6,291 ไร่ หรือร้อยละ 3.85 ของพื้นที่เขต
                   พัฒนาที่ดิน พบเป็นสถานที่เพาะเลี้ยงปลา สถานที่เพาะเลี้ยงกุ้ง และสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ าร้าง
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96