Page 179 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองหวาย-คลองโพล้ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์(รหัส 1805) ลุ่มน้ำหลักชายฝั่งทะเลตะวันออก(รหัส 18) พื้นที่ดำเนินการโครงการ บ้านคลองป่าไม้ หมู่ 6 บ้านเขาผักกูด หมู่ 7 ตำบลกระแสบน อำเภอแกลง จังหวัดระยอง
P. 179

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                    139



                   ข้อจ ากัดรุนแรงเรื่องสภาพพื้นที่มีความลาดชัน 12-20 เปอร์เซ็นต์ ในหน่วยแผนที่ Pto-slD/d3c,E2 มีเนื้อที่

                   21 ไร่ หรือร้อยละ 0.39 ของพื้นที่
                                   10) ดินมีความเหมาะสมดีส าหรับปลูกหญ้าเลี้ยงสัตว์ มีข้อจ ากัดเล็กน้อยเรื่องความ
                   อุดมสมบูรณ์ของดินต่ า ไม่ค่อยเหมาะสมส าหรับปลูกอ้อย ข้าวโพด มันส าปะหลัง สับปะรด ยางพารา
                   ปาล์มน้ ามัน ยูคาลิปตัส ทุเรียน เงาะ มังคุด ขนุน ลองกอง ลางสาด และมะพร้าว มีข้อจ ากัดรุนแรงเรื่อง

                   พบชั้นหินพื้นภายใน 25-50 เซนติเมตร และสภาพพื้นที่มีความลาดชัน 12-20 เปอร์เซ็นต์ ในหน่วยแผนที่
                   Klt-clD/d2c,E2 มีเนื้อที่ 245 ไร่ หรือร้อยละ 4.54 ของพื้นที่
                                   11) ดินไม่ค่อยเหมาะสมส าหรับปลูกข้าวโพด สับปะรด ยางพารา ปาล์มน้ ามัน ยูคาลิปตัส
                   ทุเรียน เงาะ มังคุด ขนุน ลองกอง ลางสาด มะพร้าว และหญ้าเลี้ยงสัตว์ มีข้อจ ากัดรุนแรงเรื่องพบชั้นหิน

                   พื้นภายใน 25-50 เซนติเมตร สภาพพื้นที่มีความลาดชัน 20-35 เปอร์เซ็นต์ และมีการกร่อนดินปานกลาง
                   ในหน่วยแผนที่ Ho-sglE/d2c,E3 มีเนื้อที่ 59 ไร่ หรือร้อยละ 1.11 ของพื้นที่
                                    12) ดินบนพื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน (SC) มีเนื้อที่ 23 ไร่ หรือร้อยละ 0.42 ของพื้นที่
                   ด าเนินการ

                                    13) ที่อยู่อาศัย (U) มีเนื้อที่ 121 ไร่ หรือร้อยละ 2.24 ของพื้นที่ด าเนินการ
                                    14) แหล่งน้ า (W) มีเนื้อที่ 191 ไร่ หรือร้อยละ 3.53 ของพื้นที่ด าเนินการ


                                 จากการประเมินชั้นความเหมาะสมของดินในการปลูกพืชเศรษฐกิจ ท าให้สามารถ
                   มองเห็นเป้าหมายในการเพิ่มศักยภาพการผลิตในพื้นที่เหมาะสมส าหรับการปลูกพืช การปรับเปลี่ยนการ
                   ปลูกพืชให้เหมาะสมกับพื้นที่ และคงไว้เป็นพื้นที่ป่าไม้ธรรมชาติ พื้นที่อนุรักษ์ ในพื้นที่ไม่เหมาะสมส าหรับ

                   ท าการเกษตร และได้ท าการจัดศักยภาพของดินส าหรับการปลูกพืชในพื้นที่ด าเนินการในห้วข้อศักยภาพ
                   ของดินและแนวทางการพัฒนา


                                 7.3.8 ความเหมาะสมของดินส าหรับทางด้านปฐพีกลศาสตร์
                                 การประเมินความเหมาะสมของดินส าหรับทางด้านปฐพีกลศาสตร์ตามวิธีการประเมิน
                   ของสุวณี (2538) โดยท าการประเมินเฉพาะข้อมูลดิน ไม่ได้พิจารณาในส่วนของพื้นที่ความลาดชันเชิงซ้อน
                   ที่อยู่อาศัย และแหล่งน้ า เนื่องจากไม่มีศักยภาพในการปฏิบัติงานทางด้านปฐพีกลศาสตร์ ตามตารางที่ 21
                   และสามารถสรุปศักยภาพของดินส าหรับทางด้านปฐพีกลศาสตร์ ตามตารางที่ 22 ได้ดังนี้

                                    1) การใช้เป็นแหล่งหน้าดิน
                                       (1) ดินมีความเหมาะสมปานกลางส าหรับใช้เป็นแหล่งหน้าดิน มีข้อจ ากัดเรื่อง
                   ประเภทเนื้อดิน ได้แก่ หน่วยแผนที่ Km-slB/d5,E1 Ntn-clB/d3c,E1, Ntn-clC/d3c,E2 Pto-slC/d3c,E1

                   Pto-slD/d3c,E2 Kh-gm-slA/d5,E1 Ro-fl-slA/d5,E1 Ro-gm-clA/d5,E0 และ Te-gm-slA/d5,E1 มีเนื้อที่
                   3,211 ไร่ หรือร้อยละ 59.46 ของพื้นที่ด าเนินการ
                                       (2) ดินไม่เหมาะสมส าหรับใช้เป็นแหล่งหน้าดิน มีข้อจ ากัดเรื่องความหนาของวัสดุที่
                   เหมาะสม ชิ้นส่วนที่ใหญ่กว่าทรายหยาบ และความลาดชัน ได้แก่ หน่วยแผนที่ Cp-slB/d 2g,E 1 Kc-clB/d 2g,E 1

                   Kc-clC/d 2g,E2 Klt-clB/d 2c,E1 Klt-clC/d 2c,E2 และ Klt-clD/d 2c,E2 มีเนื้อที่ 1,795 ไร่ หรือร้อยละ 33.24 ของ

                   พื้นที่ด าเนินการ
   174   175   176   177   178   179   180   181   182   183   184